โดย อาเชอร์ อินเทเตอร์
ครั้งที่ผมได้เขียนเกียวกับ ความสัมพันธ์ในพันธสัญญา เมื่อประมาณ 25 ปีที่ผ่านมา ผมมีทั้งสองสิ่งนี้ในใจคือธรรมบัญญัติที่ยิ่งใหญ่และพระมหาบัญชา
ธรรมบัญญัติที่ยิ่งใหญ่ได้บอกให้เรารักพระเจ้า และให้เรารักซึ่งกันและกัน (เลวีนิติ 19:18,เฉลยธรรมบัญญัติ 6:5, ลูกา 10:27) การรักพระเจ้านั้นอาจจะง่ายกว่า เพราะพระองค์ทรงสมบูรณ์แบบ แต่ปัญหาของการรักมนุษย์คือเขาทั้งหลายไม่เป็นเช่นนั้น
ถ้าเรารักผู้คนจริงๆ ด้วยปัญหาจริงๆ เราจำเป็นต้องมีกรอบและหลักการที่เป็นแนวทาง กรอบที่มาที่ว่านั้นคือ พันธสัญญา และหลักการนั้นมีสองอย่างคือ ความจงรักภักดี และความซื่อสัตย์
พระมหาบัญชานั้นรวมถึงการแบ่งปันข่าวประเสริฐไปจนสุดปลายแผ่นดินโลก (กิจการ 1:8), การอธิษฐานเผื่อการฟื้นฟูทั่วโลก(กิจการ 2:17), และการรื้อฟื้นให้สิ่งสารพัดขึ้นมาใหม่ (กิจการ 3:21). ภารกิจเหล่านั้นเป็นภารกิจที่ใหญ่สำหรับเราทุกคน วิธีการเดียวที่จะทำให้ภารกิจนี้เกิดขึ้นได้ คือการทำงานร่วมกันเป็นทีม
การทำงานร่วมกันเป็นทีมในความร่วมมือกันนั้น เราก็จำเป็นต้องมีกรอบและหลักการที่เป็นแนวทาง กรอบนี้คือพันธสัญญา และหลักการนั้นคือความจงรักภักดี และความซื่อสัตย์ เช่นเดียวกัน
หากปราศจาการเขน ก็ไม่เป็นผล
ปัญหาก็คือ มันไม่ได้ผล! ถึงแม้ว่าจะมีพันธสัญญา ความภักดี และความซื่อสัตย์ แต่ความสัมพันธ์ของเราก็ยังล้มเหลวไม่เป็นท่า ทำไมล่ะ? เพราะว่าพวกเราผู้ซึ่งเป็นมนุษย์นั้นเห็นแก่ตัวและเต็มไปด้วยความบาป เราต้องการบางสิ่งบางอย่างเพื่อช่วยเรา และนี่คือที่ที่กางเขนเข้ามามีส่วน
นี่คือความขัดแย้งระหว่างความจงรักภักดี และความซื่อสัตย์
เราทุกคนล้วนแต่พยายามที่จะจงรักภักดีเมื่อเราขาดความซื่อสัตย์ในที่ใดที่หนึ่ง นี่คือช่องว่างระหว่างความปรารถนาที่จะมั่นคงยึดมั่นของผู้นั้นและในความจริงที่ว่าผู้นั้นขาดความซื่อสัตย์ (ได้ระดับหนึ่ง) แล้วผมจะแสดงความจงรักภักดีให้กับผู้ที่ขาดความซื่อสัตย์นี้ได้อย่างไร?
เราต้องการพระคุณ เพื่อที่จะคงความสัตย์ซื่อต่อผู้คนที่ไม่สมบูรณ์ เราต้องเลือกกางเขน เลือกที่จะรักในการเสียสละ เลือกที่จะให้ความเมตตากรุณาเมื่อผู้อื่นผิดพลาดล้มเหลว เราควรให้ความเมตตาของเราเป็นส่วนเติมเต็มในช่องว่างของความผิดพลาดของผู้อื่น เราต้องเต็มใจยอมรับความล้มเหลว และความอ่อนแอของเขาเหล่านั้น นั่นคือความเจ็บปวด และต้องการความเชื่ออย่างสัตย์ซื่อ
กฎแห่งพันธสัญญาเพียงอย่างเดียวนั้นมันไม่พอ ต้องถูกเติมด้วยทัศนคติอย่างเดียวกับกางเขน ด้วยความรักของพระเยซู (เยชูวา ในภาษาฮิบรู) ผู้ซึ่งตายบนกางเขนเพื่อเราทั้งหลายในขณะที่เรายังล้มเหลว พระองค์สำแดงความภักดีต่อเราในขณะที่เราไม่ได้ประพฤติอย่างซื่อสัตย์ เราจึงควรมีพฤติกรรมอย่างเดียวกันนั้นต่อผู้อื่น และเขาจะทำสิ่งอย่างเดียวกันนั้นต่อเราเช่นกัน และนั่นเป็นทางเดียวที่ทำให้ความสัมพันธ์ในพันธสัญญาจะบรรลุผลCovenant Relationships and the Cross
When I wrote Covenant Relationships about 25 years ago, I had in mind both the Great Commandment and the Great Commission.
The Great Commandment tells us to love God and to love one another (Leviticus 19:18, Deuteronomy 6:5, Luke 10:27). Loving God may be a little easier because He is perfect. The problem with loving people is that they are not.
If we are to love real people with real problems, we must have some framework and guiding principles. The framework is the covenant; the principles are two-fold: loyalty and integrity.
The Great Commission includes sharing the gospel to the ends of the earth (Acts 1:8), praying for a worldwide revival (Acts 2:17), and restoring all things since creation (Acts 3:21). Those tasks are too big for anyone. There is only one way to proceed: we must work as a team.
To work as a team in cooperation, we must again have a framework and guiding principles. The framework is covenant; the principles are loyalty and integrity.
Without the Cross – This won’t work
The problem is that it doesn’t work! Even with covenant, loyalty and integrity, our relationships are doomed to failure. Why? – Because we human beings are still selfish and sinful. We need something else to help us. This is where the cross comes in.
There is a conflict between loyalty and integrity. Everyone we try to be loyal to lacks integrity somewhere. There is a gap between the desire to remain faithful to that person and the fact that the person lacks integrity (to some degree). How can I show loyalty to someone who is lacking integrity?
We need grace. In order to stay faithful to people who are not perfect, we must choose the cross; we must choose sacrificial love; we must choose to grant grace when the other fails. Our grace toward other people must fill in the gap when they fail. We must take their failures and weaknesses upon ourselves. That is painful. That demands faith.
Covenantal principles alone are not enough; they must be filled up with a cross-like attitude, with the love of Yeshua who died on the cross for us when we failed. He showed loyalty to us when we did not act in integrity. We have to act that way to others, and they will have to act that way to us. That’s the only way covenantal relationships can succeed.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น